Annual International Well-being and Sustainability Forum Bangkok 2018 จัดโดยบริษัทแมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (MQDC)

คุณโทบี้ บลันท์ รองประธานอาวุโส บริษัทฟอสเตอร์ พลัส พาร์ทเนอร์ บริษัทด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมชื่อดังจากประเทศอังกฤษ

การใช้พลังงาน มาจาก

1) การออกแบบโครงสร้างพื้นฐานใช้พลังงานมากถึง 54% การออกแบบในด้านสถาปัตยกรรม จึงต้องออกแบบให้สอดคล้องด้วย 

2) การใช้รถยนต์
3) ภาคเกษตรกรรม ก็ใช้พลังงาน จำนวนมาก 

การใช้แผนแม่บทในการสร้าง One World Living ที่สลัมในมุมไบ โดยให้คนที่อยู่ในชุมชนมีส่วนร่วม โดยสร้างรูปแบบของเมืองแบบใหม่ โดยการแบ่งเมืองออกเป็นบล็อก สร้างถนนเพิ่มขึ้น ทั้งอาคารที่เป็นพื้นที่สาธารณะ โรงเรียน พื้นที่สีเขียว 

Wind Tower ที่สามารถนำพลังงาลมมาใช้ในพื้นที่ส่วนกลางของเมืองได้

 

 



คุณบิล โคน ผู้ก่อตั้งและประธาน บริษัท ไอเทค เอ็นเตอร์เทนเมนท์ บริษัทสัญชาติอเมริกันผู้นำในด้านออกแบบประสบการณ์ลูกค้าในสวนสนุกทั่วโลก

ความบันเทิงเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ทั้งจากหนัง ภาพยนตร์ ไม่ว่าจะหัวเราะ ร้องไห้ ประหลาดใจ อย่างไรก็ตามมันทำให้คนเราสงสัย ก่อให้เกิดประสบการณ์ 
ทุกวันนี้ บันเทิงมันกลายเป็นสินค้าไปหมด และกลายเป็นคุณค่าแก่ผู้ที่มารับฟัง ก็เท่ากับประสบการณ์ที่คุณจะได้รับไป ฉะนั้นการได้รับประสบการณ์แต่ละบุคคลจะรู้ว่าประสบการณืแบบใดที่เหมาะสมกับตัวเอง
 ความบันเทิงจะแทรกอยู่ในส่วนต่างๆ อาทิ ในร้านค้าปลีก ทีจำเป็นต้องจัดหรือสร้างประสบการณืที่หาไม่ได้ในร้านค้าออนไลน์ 
ตัวอย่าง Wall Disney คือคนแรกที่ออกแบบ Theme Park หรือ ที่ที่ออกแบบ/สร้างประสบการณ์ ให้กับผู้คน ซึ่ง ITEC Entertainment ก็คือบริษัทที่ออกแบบและมีปฎิสัมพันธ์กับประสบการณ์ที่สร้างขึ้นเหล่านั้น 
รวมถึงการใช้เทคโนโลยี การแพร่ภาพหรือเผยแพร่สื่อกิจกรรมต่างๆ ให้ผู้คนได้รับชมนอกบ้าน ทั้ง Ads บนรถเมล์ 
บริษัทอสังหาริมทรัพย์ ก็พยายามที่จะนำประสบการณ์ ความทรงจำมาใส่ในอาคาร เพื่อสร้างการจดจำที่ดี และสามารถทำให้คนยิ้มได้

รองศาสตราจารย์ ดร. สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้าที่ปรึกษาศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน (RISC) และ อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แนวคิดเพื่อความยั่งยืนเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 
ตัวอย่างเช่น เมืองเหล่านี้ คือ เมืองที่มีอนาคตที่ยั่งยืนหรือไม่

- London
- Paris
- Toronto

- Tokyo

- New York


เราจึงต้องหาหนทางใหม่ๆ เพื่อหาหนทางที่ยั่งยืน 
เรารู้ไหม ว่าเราสามารถสร้างอะไรใหม่ๆ เพื่อเมืองที่ยั่งยืน 
เราต้องมุ่งเน้นให้ทุกๆ คนมีความเป็นอยู่ที่ดี ไม่ใช่แค่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง เพราะมนุษย์เราอยู่โดยลำพังไม่ได้ แต่เราต้องอยู่ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่ดี เพราะจากภูมิปัญญาที่มีที่ผ่านมา เรามุ่งเน้นแต่ตัวมนุษย์จยละเลยสิ่งที่อู่รอบๆ ตัว ดังนั้น เราจึงต้องใช้หัวใจและสมอง ดูแลสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราด้วย 
อย่าง Forestias ที่จัดสรรพื้นที่ให้มีพื้นที่สีเขียวมากถึง 40% 

30 Year Waranty Residences & Condominium ก็จะเป็นผลต่อดีผู้คน 
สร้างระบบระบายอากาศ Energy Recovery Ventilation เพื่อสร้างและหมุนดวียนอากาศที่ดีให้กับห้องเล็กๆ

 





ดร. วิลเลี่ยม อี. ไรช์แมน ประธานกรรมการและซีอีโอ บริษัทเบย์เครสต์ ศูนย์วิจัยและดูแลผู้สูงอายุชั้นนำของโลกจากประเทศแคนาดา
ประเทศไทยกำลังมีประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้น สิ่งที่ตามมาก็ คือ ปัญหาด้านสุขภาพที่ตามมา อย่างโรคความจำเสื่อม โรคหัวใจ โรคมะเร็ง 
ดังนั้น เราจะวางแผนเพื่อรองรับประชากรสูงวัยนี้อย่างไร เพื่อให้คนกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในแง่ของการจัดหาบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงการทำอย่างไรให้คนสูงวัยเหล่านี้รักษาสุขภาพให้ดี ด้วยการจัดการความเป็นอยู่ที่ดี ด้วยการเคลื่อนย้ายการบริการไปสู่ชุมชน ลดค่าใช้จ่ายที่จะต้องไปโรงพยาบาลเพื่อเข้ารับการบริการทางสุขภาพ ทั้งการบริการทางสุขภาพในโรงพยาบาล จำแนกการรักษาแต่ละโรคออกไปแต่ละหน่วยงาน ทำให้การรักษา การให้ยา ไม่ได้รับการพูดคุย เพื่อการส่งเสริมการอยู่ดีมีสุข 
ความอยู่ดี มีปัจจัยกำหนดหลายอย่างไม่ใช่แค่การรักษาพยาบาลที่ดีเท่านั้น ยังมีการมีที่อยู่อาศัยที่ดี การขนส่งคมนาคมที่ปลอดภัย การพบปะผู้คนในชุมชน รวมถึงความมั่นคงทางการเงินก็เป็นสิ่งที่จำเป็น ไม่ว่าโรงพยาบาลจะดีแค่ไหนก็ตาม แต่ความมั่นคงทางการเงินก็เป็นสิ่งที่สำคัญ รวมถึงชุมชน ควรดูแลให้ผู้สูงวัยมาพบปะกัน มาสังคมร่วมกันได้ 
ผู้ที่อยู่อาศัยในโครงการอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ





ปัจจุบันสถานที่ที่ดูแลผู้สูงวัยในปัจจุบัน ควรเปิดโอกาส หรือเป็นสถานที่ที่ผู้สูงวัยเหล่านี้สามารถตัดสินใจว่าจะทานข้าวเมื่อไร อาบน้ำเมื่อไร ไม่ใช่ให้ใครมากำหนด
การจัดสภาพแวดฃ้อมให้เป็นเหมือนบ้าน ที่สามารถสัมผัสธรรมชาติ ทำกิจกรรมกลางแจ้ง การได้พบสัตว์เลี้ยง ได้พบเด็กๆ 
เจ้าหน้าที่ในสถานดูแลผู้สูงวัยจะต้องยืดหยุ่นได้ ไม่ใช่เป็นการดูแลไปตามกำหนดการที่สร้างมาเท่านั้น 
ฉะนั้นต้องมรการสร้าทางเลือกมีความหลากหลายเพื่อรองรับความต้องการของทุกคนได้ 

สิ่งหนึ่งคือความเชื่อมต่อระหว่างชุมชน เครือญาติ 
เราจะออกแบบสภาพแวดล้อมยังไรให้ผู้สูงวัยช่วยเหลือตัวเองได้ 
ทางเดินต้องมีไฟที่สว่างเพียงพอ มีราวจับ 

MQDC เป็นตัวอย่างขององค์กรที่ปรับตัวเพื่อรองรับผู้สูงวัยต่อไป

 

ศาสตราจารย์ ดร. จอห์น ดี. สแปงเลอร์ ศาสตราจารย์ด้านสิ่งแวดล้อมและการอยู่อาศัยของมนุษย์ ประจำวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด ที.เอช. ชาน สถาบันสุขภาพแห่งสหรัฐฯ ในปี 2018 ธรรมชาติอาจไม่ได้สมบูรณ์เหมือนเดิมแล้ว 
มนุษย์มีความสัมพันธ์กับธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง 
Wellbeing Concept 
สร้างการอยู่ร่วมกันระหว่างคนทุกวัย 


HPI = Wellbeing x Life Expectancy x inequality of outcomes / Ecological Footpoint



 

 

 

 

 

 

 

 

ขอบคุณข้อมูลจาก mqdc.com