การค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนกรกฎาคม 2564
การแถลงข่าว การค้าระหว่างประเทศของไทย เดือนกรกฎําคม 2564 โดย สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ ณ วันจันทรที่ 23 สิงหาคม 2564 เวลา 9.00 น. ห้องบุรฉัตรไชยากร ชั้น 4 สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
ภาพรวมการส่งออกไทย (ดอลลารส์หรัฐ)
การส่งออกเดือนกรกฎาคม 2564 มีมูลค่า 22,650.83 ล้านดอลลร์ สหรัฐขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือน ที่ 5 ที่ร้อยละ 20.27%YoY โดยมีมูลค่าสูงกว่า ค่าเฉลี่ยเดือนกรกฎาคม 5 ปี ย้อนหลัง (19,265.75 ล้านดอลลารส์หรัฐ) ซึ่งเป็น ผลจากการดำเนินการตามแผนการส่งเสริมการส่งออกของกระทรวงพาณิชย์ และ ปัจจยัจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกเมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัยขยายตัว +25.38%YoY สะท้อนการเติบโตจากภาคเศรษฐกิจจริง (Real Sector)
อัตราขยายตัวมูลค่าการส่งออกของภูมิภาคเอเชีย
ในเดือนกรกฎาคม 2564 การส่งออกของไทยเติบโตอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับภูมิภาคเอเชีย
สินค้าส่งออก 10 อันดับแรก เดือนกรกฎาคม 2564
Contribution to growth by Sector
สินค้าสําคัญท่ีผลักดันการส่งออก ได้แก่ รถยนต์ ผลไม้สดฯ เม็ดพลาสติก น้ํามันสําเร็จรูป และเคมีภัณฑ์ ขณะท่ีอัญมณี และเครื่องประดับอาหารทะเลกระป๋อง และแปรรูปสินค้าปศุสัตว์อื่นๆ น้ําตาล และข้าวชะลอตัว
การส่งออกรายสินค้า
สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรมีทิศทางขยายต้วมากข้ึน โดยขยายตัว 24.3% ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 (จากการขยายตัวของสินค้าเกษตร 46.4% และสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรขยายตัว 0.4%) สินค้าอุตสาหกรรมขยายต้ว 18.0% และเมื่อหักทองคํา ขยายตัวที่ 28.2% นอกจากน้ีสินแร่และเชื้อเพลิงขยายตัว ถึง 62.6%
การส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (ขยายตัว)
การส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (หดตัว)
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญ (ขยายตัว)
การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญ (หดตัว)
การส่งออกรายตลาด
Contribution to growth by Country
การส่งออกเดือนกรกฎาคม 2564 ขยายตัวร้อยละ 20.3 โดยเฉพาะการส่งออกไปจน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น อินเดีย และอินโดนีเซีย มีส่วนผลักดันการส่งออกให้ขยายตัวสูง ตลาดที่เป็นปัจจยัลบตอ่การส่งออกได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ ซาอุดีอําระเบีย ตุรกี
การนําเข้าสินค้าของไทย กรกฎาคม 2564
การนําเข้าขยายตัวต่อเนื่อง จากการเติบโตของการผลิตเพื่อการส่งออก โดยมีสินค้าวัตถุดิบ และกึ่งสําเร็จรูปสินค้าเชื้อเพลิงขยายตัวดี
แหล่งนําเข้าสินค้าสําคัญของไทย กรกฎาคม 2564
แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐ อเมริกา มาเลเซีย สหรัฐ อาหรับ เอมิเรตส์
- จีนแหล่งนำเข้าอันดับ 1 ขยายตัว 37.8% จากการนำเข้าเครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ (21.5%) เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ (21.8%) เครื่องคอมพิวเตอร์ฯ (35.4%) เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน (6.8%) เคมีภัณฑ์ (76.4%)
- ญี่ปุ่น แหล่งนำเข้าอันดับ 2 ขยายตวั 73.8% จากการนำเข้า เหล็ก เหล็กกล้า (154.4%) เครื่องจักรกล และส่วนประกอบ (51.1%) เครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ (43.2%) ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ (182.2%) เคมีภัณฑ์ (151.9%)
- สหรัฐอเมริกา ขยายตัว 32.0% จากการขยายตัวของการนำเข้า เคมีภัณฑ์ (31.9%) เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ (86.4%) แผงวงจรไฟฟ้า (2.2%) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (20.3%) ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ (144.3%)
- มาเลเซีย ขยายตวั 34.6% จาการนำเข้า น้ำมันดิบ (1,046.0%) เคมีภัณฑ์ (81.0%) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (4.8%)
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ขยายตัว 170.9% จากการนำเข้าน้ำมันดิบ (65.3%) ผลิตภัณฑ์โลหะ (358,933.3%) น้ำมันสำเร็จรูป (532.8%)
ปัจจัยสนับสนุนการส่งออกของไทย
1. การดําเนินการส่งเสริมการส่งออกตามแผนงานกระทรวงพาณิชย์ ในช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2564
- มาเลเซียส่งสัญญาณนำเข้าข้าวจากไทย เพิ่มข้ึนช่วยครึ่งหลังของปี 2564
- การเข้าร่วมงานแสดงสินค้า Seoul Food 2021
- จัดกิจกรรม Thai Fair โปรโมตสินค้า ไทยในห้างญี่ปุ่น
- โปรโมทข้าวไทยในอียปิต์
- จัดกิจกรรมโปรโมตร้านอาหาร Thai SELECT ช่วยเพิ่มยอดขาย
- พัฒนาแดชบอรด์สินค้าทุเรียนช่วยวางแผนการผลิตและการตลาด
- จัดทำแผนเร่งรัดการส่งออกสินค้าที่ตอบโจทยเ์มกะเทรนดข์องโลก
- ผลักดัน 7 มาตรการอำนวยความสะดวกส่งออก-นำเข้าช่วงโควิด-19
- แก้ไขปัญหาการขนส่งมังคุดไปตลาดจีน
- แก้ต่างการทุ่มตลาดสินค้าแผ่นทองแดง และทองแดงเจือในอินเดีย
- แก้ป้ญหาการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ให้เข้าสู่ภาวะสมดุล
- โครงการจับคู่กู้เงิน ”สถาบันการเงิน กับ SMEs ส่งออก เพื่อช่วยเหลือ SMEs ที่ประกอบกิจการส่งออก
2. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
- การเติบโตของเศรษฐกิจที่เป็นตลาดส่งออกหลัก อาทิ สหรัฐฯ อียู จีน
- ค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่า
- ราคาน้ํามันดิบ ยัง คงอยู่ในระดับสูงกว่าปีก่อนหน้า
สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบแถลงข่าวได้ที่ www.tpso.moc.go.th หรือสแกน QR Code